วันพุธที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2553

การสมัครงาน (Applying for a job)

การสมัครงาน (Applying for a job)

ความจริงแล้วเรื่องการสมัครงานนี้ ข้าพเจ้าได้กล่าวถึงไว้อย่างละเอียดแล้วในหนังสือของข้าพเจ้าเรื่อง “การสมัครงานและสอบสัมภาษณ์ (Job Application & Interview) แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงอีกโดยไม่ได้เน้นเรื่องหนึ่งเรื่องใดเป็นการเฉพาะ

การไต่ถามเรื่องงาน

1. What do you plan to do after graduation?

(ว็อท ดู ยู แพลน ทู ดู อ๊าฟเต่อร์ แกร็ดดีวเอชั่น)

คุณวางแผนทำอะไรหลังจากเรียนจบแล้ว

2. Have you found a suitable job?

(แฮ็ฟ ยู เฟานด อะ ซุททะบึล จ๊อบ)

คุณได้งานที่เหมาะสมหรือยัง

3. What are you doing now?

(ว้อท อาร์ ยู ดิ่ง นาว)

คุณทำอะไรอตอนนี้

4. Where are yo working?

(แวร์ อาร์ ยู เวิคกิ่ง)

คุณทำงานที่ไหนตอนนี้

5. What do you expect to do after you graduate?

(ว็อท ดู ยู เอ๊กซเพ็คท ทู ดู อ๊าฟเต่อร์ ยู แกร็ดดีวเอ็ท)

คุณกะจะทำอะไรหลังจากเรียนจบแล้ว

คำตอบเกี่ยวกับเรื่องงาน

1. I’m going to work at ………

(ไอม โกอิ้ง ทู เวิค แอ็ท .........)

ผมกำลังจะได้งานทำที่.........

2. I expect to work for ………

(ไอ เอ๊กซเพ็คท ทู เวิค ฟอร์ .........)

ผมจะได้งานทำที่.........

3. I work at ……… (ไอ เวิค แอ็ท .........)

ผมทำงานที่.........

4. I’m employed at ……… (ไอม เอ็มพลอยท แอ็ท .........)

ผมได้งานทำที่.........

ในกรณีที่ยังหางานทำอยู่ก็อาจจะพูดว่า

1. I’m looking for a job.

(ไอม ลุ๊คกิ่ง ฟอร์ อะ จ็อบ)

ผมกำลงมองหางานอยู่ครับ

2. I’m unemployed right now. Do you know of any vacancies?

(ไอม อันเอ็มพลอยท ไร้ท นาว ดู ยู โนว ออฟ เอ็นนี่ วะแคนซีส)

ตอนนี้ผมยังไม่มีงานทำ คุณรู้ไหมที่ไหนมีตำแหน่งว่างบ้าง

3. I haven’t been able to find a suitable job.

(ไอ เอ็ฟวึ่นท บีน เอเบิ้ล ทู ไฟด อะ ซุททะเบิ้ล จ็อบ)

ผมยังหางานที่เหมาะสมไม่ได้เลยครับ

4. I’m still out of work. Are there any vacncies/openings in your office?

(ไอม สทิล เอ้าท อ๊อฟ เวิค อาร์ แธร์ เอ็นนี่ วะ แคนซี่ส/โอเพ่นนิ่งส อิน ยัวร์ อ๊อฟฟิซ)

ผมยังไม่มีงานทำเลยครับ คุณมีตำแหน่งว่างบ้างไหมครับ

5. I have seen your advertisement in today’w THE NATION and I would like to apply for the position of ………

(ไอ แฮ็ฟ ซีน ยัวร์ แอ็ดเวอทิสเม้นท อิน ทู เดย์ส เดอะ เนชั่น แอนด์ ไอ วูด ไล้ค ทู แอ็บพลาย ฟอร์ เธอะ โพซิชั่น ออฟ .........)

ผมเห็นโฆษณาของคุณใน น.ส.พ. เดอะเนชั่น ฉบับวันนี้และผมก็อยากจะสมัครในตำแหน่ง.........

6. What kind of job can you offer, sir?

(ว็อท ไคนด อ็อฟ จ็อบ แคน ยู อ็อฟเฟ่อร์ เซ่อร์)

คุณจะให้ผมทำงานประเภทไหนได้บ้างครับ

7. Okay, I’ll take the job and I’ll start on Monday.

(โอเค ไอล เท็ค เธอะ จ๊อบ แอนด์ ไอล สต้าร์ท ออน มันเดย์)

โอเคครับ ผมจะทำงานนี้และจะเริ่มทำงานจันทร์เลยครับ

คำศัพท์ที่ควรทราบในการกรอกใบสมัครงาน

1. Application form แบบฟอร์มใบสมัครงาน

Application Letter จดหมายสมัครงาน

2. Applicant/Candidate ผู้สมัครงาน

3. To be completed iin own handwriting.

เขียนใบสมัครด้วยลายมือตนเอง

4. Confidential เป็นความลับ

5. Photo attached here ติดรูปถ่ายตรงนี้

6. Position applied for/Position sought/Positioin desired.

ตำแหน่งที่สมัคร/ตำแหน่งที่ต้องการ

7. Salary expected. เงินเดือนที่ต้องการ

8. Personal data (อเมริกา) ประวัติส่วนตัว

คำนี้ในประเทศอังกฤษ ใช้ Curriculum vitae (CV), bio-data หรือ data sheet ก็ได้ และทั้งหมดนี้ก็มีความหมายอย่างเดียวกันคำว่า “Resume”

9. Sex เพศ (ชายใช้ Male หญิงใช้ Female)

10. Present address ที่อยู่ปัจจุบัน

11. Permanent address ที่อยู่ถาวร

12. Dat of birth วันเดือนปีเกิด

13. Age อายุ

14. Nationality สัญชาติ

15. Race เชื้อเชาติ

16. Religion ศาสนา

Buddhism พุทธ

Christian คริสต์

Islam อิสลาม

17. Height ความสูง

18. Weight น้ำหนัก

19. Colour of eyes สีตา

20. Colour of hair สีผม

21. Indentification Card (ID Card) บัตรประจำตัวประชาชน

22. Issued by ออกให้โดย

23. Marital status สถานภาพการสมรส

Single เป็นโสด

Married แต่งงานแล้ว

Widowed เป็นหม้าย

Divorce หย่าร้าง

24. Person to notify in case of emergency.

ผู้ที่จะติดต่อในกรณีเกิดอุบัติเหตุฉุกเฉิน

25. Certificate degree obtained. ประกาศนียบัตรหรือปริญญาที่ได้รับ

26. Military status สถานภาพทางทหาร

27. Experience/previous employment ประวัติการทำงาน

28. Reasons for leaving. เหตุผลที่ออกจากงาน

29. References บุคคอ้างอิง บางแห่งใช้ Referees

30. Applicant signature ลายเซ็นผู้สมัคร

31. Reserved Officers’ Training Corps Course (ROTC)

หลักสูตร ร.ด.

32. No Military Service Obligation.

ไม่มีพันธะทางทหาร

33. Self-employed ทำงานส่วนตัว

34. Ewuivalent qualification คุณวุฒิเทียบเท่า

35. Income รายได้

36. Letter of Recommendation

จดหมายรับรองการทำงาน บางครั้งใช้ Employment Certificate ใบรับรองการผ่านงาน หรือ Testimonial

37. Marriage Certificate ทะเบียนสมรส

38. Birth Certificate สูติบัตร

39. Occupation/Profession อาชีพ

40. Related Field สาขาวิชาที่เกี่ยวข้อว

41. Resume ประวัติย่อ

42. Vocational Certificate ปวช.

43. Higher Vocaitonal Certificate ปวส.

44. Home Registration ทะเบียนบ้าน

45. Dependent ผู้อยู่ในอุปการะ

46. Extra-curricular Activities กิจกรรมนอกหลักสูตร

47. Special skills ความชำนาญพิเศษ

48. Expert in เชี่ยวชาญ

49. Employment record ประวัติการทำงาน

50. Negotiable ต่อรองได้

51. Grarantor ผู้ค้ำประกัน

52. Fringe benefits ผลประโยชน์ที่ลูกจ้างได้รับนอกจากค่าจ้างประจำ

53. Seminars and special training courses

การสัมมนาและการฝึกอบรมหลักสูตรพิเศษ

54. Spouse คู่สมรส (สามีหรือภรรยาก็เรียกได้)

55. Domicile ภูมิลำเนา

56. Transcript ใบแสดงผลการเรียน บางครั้งก็ใช้ State ment of Marks

หรือ Mark Sheet ก็มีเรียก

57. Degree Certificate ใบปริญญาบัตร

58. Full-time job งานทำเต็มเวลา (งานทำไม่เต็มเวลา ใช้ Part-time job)

59. Date of attended วันที่เข้าเรียน

60. Military Discharge Letter ใบปลดทหารประจำการ หรืออาจเรียกว่า Certificate of

exemption from military service

อาชีพต่างๆ ที่ควรทราบ

Actor (แอ็คเทอะ) = นักแสดงชาย

Actress (แอ็คทริส) = นักแสดงหญิง

Acrobat (แอ็คคระแบ็ท) = นักแสดงกายกรรม

Accountant (อะเค้านทันท) = สมุห์บัญชี

Archeologist (อาคิโอโลจิสท) = นักโบราณคดี

Artist (อาทิสท) = จิตรกร

Architecture (อาคิเท็คเชอะ) = สถาปนิก

Aviator (เอวิเอเทอะ) = นักบิน

Auditor (ออดิเทอะ) = ผู้ตรวจสอบบัญชี

Author (ออเธอะ) = นักประพันธ์

Air-houstess (แอ-โฮสทิส) = พนักงานต้อนรับหญิงบนเครื่องบิน

Announcer (อะเนาเซอะ) = โฆษก

Agriculturist (แอ็กกริคัลเชอะริทส) = กสิกร

Banker (แบ็งคเก่อร์) = นายธนาคาร

Barber (บาเบอะ) = ช่างตัดผม

Baker (เบเคอะ) = คนขายขนมปัง

Barrister (แบริสเทอะ) = เนติบัณฑิต

Bookseller (บุ๊คเซลเล่อร์) = คนขายหนังสือ

Booking-clerk (บุคกิ่ง-คลาค) = คนขายตั๋ว

Book-keeper (บุค-คีพเพอะ) = พนักงานทำบัญชี

Barman (บาร์แมน) = พนักงานขายเหล้าชาย

Barmaid (บาร์เมด) = พนักงานขายเหล้าหญิง

Bartender (บาร์เท็นเด่อร์) = พนักงานประจำบาร์

Bill collector (บิล คอลเล็คเตอร์) = คนเก็บเงิน

Biologist (ไบโอโลกิสท) = นักชีววิทยา

Botanist (โบตานิสท) = นักพฤกษศาสตร์

Broker (โบรคเก่อร์) = นายหน้า

Businessman (บิสซิเนสแมน) = นักธุรกิจชาย

Businesswoman (บิสซิเนสวูแมน) = นักธุรกิจหญิง

Bootmaker (บูทเม็คเก่อร) = ช่างทำรองเท้า

Butcher (บุทเช่อร์) = คนขายเนื้อ

Cabinet maker (แค็บบิเน็ท เม็คเก่อร์) = ช่างทำตู้

Camera man (แค็มมึระ แมน) = ช่างถ่ายภาพ

Caretaker (แคร์เท็คเก่อร์) = ภารโรง

Carpenter (คาร์เพ็นเทอะ) = ช่างไม้

Cashier (แคชเชียร์) = คนรับจ่ายเงิน

Cobbler (ค็อบเบลอะ) = คนซ่อมรองเท้า

Cook (คุก) = คนทำครัว

Chauffeur (โชเฟอะ) = คนขับรถ

Confectioner (คอนเฟ็คชั่นเน่อร์) = คนขายขนมหวาน

Comedian (คะมีเดียน) = ตัวตลกละคร

Chemist (เค็มมิสท) = นักเคมี

Contractor (คอนแทร็กเต่อร์) = ผู้รับเหมา

Composer (คอมโพสเซ่อร์) = นักแต่งเพลง

Conductor (คอนดักเต่อร์) = ผู้ควบคุมวงตนตรี

Correspondent (คอริสพ็อนเด้นท) = ผู้โต้ตอบจดหมาย, ผู้สื่อข่าว

Clerk (คลาค/เคลิค) = เสมียน

Crew (ครู) = ลูกเรือ

Dancer (ด้านเซ่อร์) = นักเต้นรำ

Dairyman (แดอะริแมน) = คนส่งนม

Decorator (เด็คคะเรเต่อร์) = ช่างแต่งบ้าน

Dentist (เด็นทิสท) = ทันตแพทย์

Detective (ดิเท็คทิฟว) = นักสืบ

Doorkeeper (ดอร์คพีเพ่อะ) = คนเฝ้าประตู

Doctor (ด๊อกเต่อร์) = แพทย์

Diplomat (ดิพโพลแม็ท) = นักการทูต

Dramatist (ดรามมะทิสท) = นักแต่งบทละคร

Dressmaker (เดร็สเม็คเก่อร์) = ช่างตัดเสื้อสตรี

Draftsman (ดราฟแมน) = คนวาดภาพหรือออกแบบ

Draper (ดราพเพ่อะ) = คนขายผ้า

Driver (ไดรเว่อร์) = คนขับรถ

Druggist (ดรักกิสท) = คนขายยา

Dyer (ไดเออะ) = ช่างย้อมผ้า

Editor (เอ็ดดิเทอะ) = บรรณาธิการ

Electrician (อิเล็คทริซซึน) = ช่างไฟฟ้า

Electroplater (อิเล็คโทรเพลทเต่อร์) = ช่างชุบไฟฟ้า

Engraver (อินเกรเวอะ) = ช่างทำบล็อก

Engine driver (เอ็นจิน ไดรเวอะ) = พนักงานขับรถไฟ

Export officer (เอ็กซพอร์ท อ๊อฟฟิซเซ่อร์) = เจ้าหน้าที่ส่งออก

Farmer (ฟาร์เมอะ) = ชาวนา

Fishmonger (ฟิชมองเก่อร์) = คนขายปลา

Fisherman (ฟิชเช่อร์แมน) = ชาวประมง

Ferryman (เฟริแมน) = คนแจวเรือ

Fortune-teller (ฟอร์จูนเท็ลเล่อร์) = หมอดู

Florist (ฟลอริสท) = คนขายดอกไม้

Founder (เฟานเด่อร์) = ช่างหล่อ

Foreman (ฟอแมน) = หัวหน้าคนงาน

Gardener (การ์เด่นเน่อร์) = คนทำสวน

Geographer (จิอ็อกกระเฟ่อร์) = นักภูมิศาสตร์

Goldsmith (โกลดสมิธ) = ช่างทำทอง

Green grocer (กรีน โกรเซอะ) = คนขายผลไม้สด

Government officer/civil servant (กัฟเวินเม้นท อ๊อฟฟิซเซ่อร์/ซิฟวิล เซอร์แว้นท)

= ข้าราชการ

Graphic designer (กร๊าฟฟิค ดีเซเนอร์) = นักออกแบบ

Gorcer (โกรเชอะ) = คนขายของชำ

Guide (ไกด์) = มัคคุเทศก์

Hair-dresser (แฮร์-เดร็สเซอะ) = ช่างแต่งผมสตรี

Historian (ฮิสทอเรียน) = นักประวัติศาสตร์

Iron-monger (ไออัน-มองเก่อร์) = คนขายเครื่องเหล็ก

Inspector (อินสเป็คเต่อร์) = ผู้ตรวจการ

Interpreter (อินเทอพริเทอะ) = ล่าม

Jeweler (จูเอิลเลอะ) = คนขายเพชรพลอย

Janitor (แจ็นนิเทอะ) = ภารโรง

Journalist (จัวร์นาลิสท) = นักหนังสือพิมพ์

Lapidary (แล็พพิดะริ) = ช่างเจียระไนพลอย

Labourer, Laborer (เลเบอะเรอะ) = กรรมกร

Locksmith (ล็อคสมิธ) = ช่างทำกุญแจ

Lawyer (ลอเย่อร์) = ทนายความ

Massager (มาสซาซเจ่อร์) = คนส่งเอกสาร

Merchant (เมอร์ช้านท) = พ่อค้า

Model (โมเด็ล) = นางแบบ

Maid servant (เมด เซอร์แว้นท) = สาวใช้

Milk man (มิลค แมน) = คนส่งนมชาย

Nurse (เนิส) = นางพยาบาล

Novelist (น็อฟวะลิสท) = นักแต่งนิยาย

Oculist (อ็อคคิวลิสท) = จักษุแพทย์

Pedlar (เพ็ดเลอะ) = พ่อค้าแร่

Pawn broker (พอน โบรคเก่อร์) = คนรับจำนำ

Programmer (โพรแกรมเม่อร์) = นักเขียนโปรแกรม

Poulterer (โพรเอเร่อร์) = คนขายเป็ดไก่

Photographer (โฟโตกร๊าฟเฟ่อร) = ช่าภาพ

Painter (เพ้นเต่อร์) = ช่างทาสี

Printer (พริ้นเต่อร์) = ช่างพิมพ์

Playwright (เพลย์ไร้ท) = คนเขียนบทละคร

Policeman (โพลิสแมน) = เจ้าหน้าที่ตำรวจ

Reporter (รีพอร์ทเต่อร์) = ผู้สื่อข่าว

Receptionist (รีเซ็ฟชั่นนิสท) = พนักงานต้อนรับ

Researcher (ริเซิซเช่อร์) = นักวิจัย

Sailor (เซเลอะ) = กลาสี

Salesman (เซลซแมน) = พนักงานขายของ

Scientist (ไซอันทิสท) = นักวิทยาศาสตร์

Secretary (เซ้คคระทริ) = เลขา

Security officer (เซ้คคิวริตี้ อ๊อฟฟิซเซ่อร์) = เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย

Shipping clerk (ชิปปิ้ง คลาค) = เสมียนออกของ

Singer (ซิงเก่อร์) = นักร้อง

School master (สคูล มาสเต่อร์) = ครูชาย

School mistress (สคูล มิสเตร็ส) = ครูหญิง

Shoe maker (ชู เม็คเก่อร์) = ช่างทำรองเท้า

Shop keeper (ช็อฟ คีพเป่อร์) = เจ้าของร้าน

Scuoptor (สคัลพเทอะ) = ช่างแกะสลัก

Silversmith (ซิลเว่อร์สมิธ) = ช่างเงิน

Supervisor (ซุปเป่อร์ไวเซ่อร์) = ผู้ตรวจการ

Surveyor (เซอเวเยอะ) = ช่างสำรวจ

Sportsman (สปอร์ท แมน) = นักกีฬา

Stenographer (สเท็นนะกร๊าฟเฟ่อร์) = นักเขียนชวเลข

Surgeon (เซอจึน) = ศัลยแพทย์

Tailor (เทเลอะ) = ช่าตัดเสื้อชาย

Telephone operator (เทเลโฟน โอเพอเรเตอร์) = พนักงานรับโทรศัพท์

Tanner (แทนเน่อร์) = ช่างฟอกหนัง

Technician (เท็คนิชเซียน) = ช่างเทคนิค

Trader (เทร็ดเด่อร์) = พ่อค้า

Translator (ทรานสเลเต่อร์) = พนักงานแปล

Teacher (ทิชเชอะ) = ครู

Typist (ไทพิสท) = พนักงานพิมพ์ดีด

Waiter (เว็ทเต่อร์) = พนักงานเสิร์ฟอาหารชาย

Waitress (เว็ทเตร็ส) = พนักงานเสิร์ฟอาหารหญิง

Watchman (ว็อทชแมน) = คนยาม

Writer (ไร้เต่อร์) = นักเขียน

2 ความคิดเห็น:

  1. why do you apply for this job แปลว่า : http://how-to-interview-in-english.blogspot.com/2015/03/4-why-do-you-apply-for-this-job.html

    ตอบลบ
  2. why do you apply for this job แปลว่า : http://how-to-interview-in-english.blogspot.com/2015/03/4-why-do-you-apply-for-this-job.html

    ตอบลบ