Was it he
you were talking to? หรือ
Was it him you were talking to?
ประโยคข้างต้น he มิใช่กรรมของบุพบท to คงพอจำกันได้ว่าสรรพนาม to be ไม่ต้องใช้รูปกรรม เพราะถือว่าไม่ใช่กรรมของประโยค เป็นเพียงส่วนขยายของประโยคเท่านั้น ในกรณีนี้ก็มี was เป็นเสมือนตัวกลางยื่นมือทั้งสองข้างออกไปให้ประธานและส่วนขยายจับ เพื่อให้ส่วนทั้งสองติดกัน บุพบท to ท้ายประโยคนั้น ที่จริงสัมพันธ์กับ whom ซึ่งละเอาไว้ เพราะว่าประโยคเต็มจริง ๆ ควรจะเป็น Was it he to whom you were talking? ดังนั้นประโยคที่ถูกต้องคือ
Was it he you were talking to? : คนที่คุนกำลังพูดด้วยน่ะ เขาใช่ไหมล่ะ
It was she I was thinking about. : หล่อนน่ะแหละ เป็นคนที่ฉันกำลังคิดถึงอยู่
Was it him you were talking to?
ประโยคข้างต้น he มิใช่กรรมของบุพบท to คงพอจำกันได้ว่าสรรพนาม to be ไม่ต้องใช้รูปกรรม เพราะถือว่าไม่ใช่กรรมของประโยค เป็นเพียงส่วนขยายของประโยคเท่านั้น ในกรณีนี้ก็มี was เป็นเสมือนตัวกลางยื่นมือทั้งสองข้างออกไปให้ประธานและส่วนขยายจับ เพื่อให้ส่วนทั้งสองติดกัน บุพบท to ท้ายประโยคนั้น ที่จริงสัมพันธ์กับ whom ซึ่งละเอาไว้ เพราะว่าประโยคเต็มจริง ๆ ควรจะเป็น Was it he to whom you were talking? ดังนั้นประโยคที่ถูกต้องคือ
Was it he you were talking to? : คนที่คุนกำลังพูดด้วยน่ะ เขาใช่ไหมล่ะ
It was she I was thinking about. : หล่อนน่ะแหละ เป็นคนที่ฉันกำลังคิดถึงอยู่
ใช้ a และ an เป็น
article นำหน้านามที่นับได้( countable nouns) หรือตำราบางเล่มก็เรียกว่า unit words ก็มี ในกรณีที่มีความหมายว่า
สิ่งหนึ่ง อย่างหนึ่ง ตัวหนึ่ง คนหนึ่ง โดยมิได้จำเพาะเจาะจงลงไปว่าเป็นสิ่งไหน
อย่างไหน ตัวไหน คนไหน โดยเฉพาะ เป็นต้นว่า เราจะพูดว่า
I want to by house. เช่นนี้ผิด เพราะว่าบ้านเป็นนามที่จัดไว้เป็นพวกนามที่นับได้ ฉะนั้น จึงจำเป็นจะต้องใส่ article นำหน้า house เป็น I want to by a house. ในที่นี้ก็มีความหมายว่า ผมต้องการจะซื้อบ้านสักหลังหนึ่ง ยังไม่ได้บอกแน่นอนลงไปว่าเป็นบ้านหลังไหน แต่สิ่งที่ตั้งการจะซื้อคือบ้านหลังใดหลังหนึ่ง แต่ถ้าพูดว่า I want to by the house. ในกรณีนี้ ผู้พูดกับผู้ฟังควรจะรู้ว่า บ้านที่ต้องการจะซื้อนั้น หลังไหน โดยเฉพาะลงไป เช่นว่า นาย ก. โฆษณาขายบ้านหลังหนึ่ง นาย ข. ไปดูแล้วชอบใจอย่างจะซื้อ ก็พูดได้ว่า I want to buy the house. โดยหมายถึงบ้านหลังที่นาย ก. จะขายเท่านั้น ไม่ใช่บ้านหลังอื่น
I want to by house. เช่นนี้ผิด เพราะว่าบ้านเป็นนามที่จัดไว้เป็นพวกนามที่นับได้ ฉะนั้น จึงจำเป็นจะต้องใส่ article นำหน้า house เป็น I want to by a house. ในที่นี้ก็มีความหมายว่า ผมต้องการจะซื้อบ้านสักหลังหนึ่ง ยังไม่ได้บอกแน่นอนลงไปว่าเป็นบ้านหลังไหน แต่สิ่งที่ตั้งการจะซื้อคือบ้านหลังใดหลังหนึ่ง แต่ถ้าพูดว่า I want to by the house. ในกรณีนี้ ผู้พูดกับผู้ฟังควรจะรู้ว่า บ้านที่ต้องการจะซื้อนั้น หลังไหน โดยเฉพาะลงไป เช่นว่า นาย ก. โฆษณาขายบ้านหลังหนึ่ง นาย ข. ไปดูแล้วชอบใจอย่างจะซื้อ ก็พูดได้ว่า I want to buy the house. โดยหมายถึงบ้านหลังที่นาย ก. จะขายเท่านั้น ไม่ใช่บ้านหลังอื่น
เรื่องการใช้ article นี้ เป็นเรื่องที่ยุ่งยากมาก
สำหรับเราที่เป็นคนต่างประเทศ
ทั้งนี้ก็เพราะภาษาไทยเราไม่ละเอียดละออเหมือนภาษาอังกฤษ เราไม่มี article อย่างของเขา ขออย่างได้ตกใจ ถ้าท่านใช้ article ผิด อ่านหนังสือมาก ๆ พบตัวอย่างมาก ๆ
ในที่สุดท่านก็จะใช้ article
ถูกต้องเอง
การออกเสียง a โดยปกติแล้วเราไม่ออกเสียงว่า เอ
แต่ออกเสียงครึ่ง เออ ครัง เออะ คือปล่อยเสียงให้ออกมาจากลำคอเหมือนเวลาออกเสียง
เออ แต่ไม่หนักเท่าเวลาที่พูดว่า เออ และเสียงไม่ยาวเหมือน เออ
แต่ทั้งนี้ต้องไม่ให้เกิดเสียงกระตุกในลำคออย่างเวลาออกเสียง เออะ
ส่วน an ก็ออกเสียง เอ็อน สำหรับกรณีที่เราต้องการเน้น article เราอาจออกเสียง a เป็น เอย คือออกเสียง เอ ตามด้วย อี หรือตัว ย และ an ก็ออกเสียง แอน แต่ปรากฎน้อยครั้งมาก
ส่วนใหญ่จะทราบดีว่า
เมื่อไหร่จะใช้ a และเมื่อไหร่จะใช้ an แต่เพื่อเป็นการทบทวนอีกครั้ง จะขอกล่าวสั่น ๆ
ว่า เมื่อไรก็ตาม ที่คำที่อยู่จาก article ไป ออกเสียงพยางค์แรกเริ่มต้นด้วยเสียงสระ
โดยไม่คำนึงถึงว่าคำนั้นจะเป็นคำนาม คำคุณศัพท์ อย่างไรก็ตาม ให้ใช้ article an
แต่ถ้าออกเสียงพยางค์แรกเริ่มต้นด้วยเสียงพยัญชนะ ก็ใช้ a ทั้งสองกรณีที่กล่าวมาแล้ว
ต้องไม่พะวงว่าคำนั้นเวลาสะกดจะมีพยัญชนะต้นเป็นสระ a, e, i, o, u หรือไม่ก็ตามที เช่นเราใช้ an hour เพราะเราออกเสียงพยางค์แรก เริ่มต้นด้วยเสียงสระ
อาวเออะ ทั้งๆ ที่พยัญชนะต้นเป็น h
ก็ตาม แต่เราว่า a university ทั้ง ๆ ที่พยัญชนะต้นเป็น u
แต่เวลาออกเสียงนั้น เสียงแรกเป็นพยัญชนะ ย คือ ยูนิเวอร์ซิตี้
แต่ก็มีบางคำที่ทำให้เกิดปัญหาถกเถียงกัน เช่นคำว่า hotel บางคนออกเสียง โฮเทล บางคนออกเสียง โอเทล
โดยไม่ต้องออกเสียงตัว h เหมือน hour, honor, honest ทั้งนี้ก็ต้องถือเกณฑ์จากคน่วนมากเป็นถูก นั่นคือ โฮเทล
แต่ถ้าใครออกเสียงโอเทล จะใช้ an เป็น article ก็ไม่ผิด
การใช้ article a หรือ an ทีมีใช้ดังนี้
ก.ใช้นำหน้านามที่นับได้เมื่อมีความหมายว่า หนึ่ง แต่เมื่อใช้ในภาษาไทย ไม่จำเป็นต้องแปลว่า หนึ่งเสมอไป และเมื่อใช้เป็นพหูพจน์ จะไม่มี article เช่น
A nice girl does not swear. : เด็กที่น่ารักไม่ด่า
John is a good friend of mine. : จอห์นเป็นเพื่อนที่ดีของผม
ก.ใช้นำหน้านามที่นับได้เมื่อมีความหมายว่า หนึ่ง แต่เมื่อใช้ในภาษาไทย ไม่จำเป็นต้องแปลว่า หนึ่งเสมอไป และเมื่อใช้เป็นพหูพจน์ จะไม่มี article เช่น
A nice girl does not swear. : เด็กที่น่ารักไม่ด่า
John is a good friend of mine. : จอห์นเป็นเพื่อนที่ดีของผม
ข.ใช้กับนามเอกพจน์ที่แสดงถึงอาชีพ
และกับนามที่ตามหลังกริยา to
be เช่น
My father is a lawyer. : พ่อของผมเป็นทนายความ
He is a student. : เขาเป็นนักเรียน
My father is a lawyer. : พ่อของผมเป็นทนายความ
He is a student. : เขาเป็นนักเรียน
ค.ใช้เกี่ยวกับเวลา
และการชั่งตวงวัด
Rome was not built in a day. :กรุงโรมไม่ได้สร้างขึ้นได้ในวันเดียว
Daranee makes 30 baht an hour. : ดารณีทำงานได้ชั่วโมงละ 30 บาท
Gasoline used to sell for 2 baht a liter. : น้ำมันเบนซินเคยขายลิตรละ 2 บาท หรือใช้เป็น
Gasoline used to sell for 2 baht per liter. โดยไม่มี article ก็ได้
Rome was not built in a day. :กรุงโรมไม่ได้สร้างขึ้นได้ในวันเดียว
Daranee makes 30 baht an hour. : ดารณีทำงานได้ชั่วโมงละ 30 บาท
Gasoline used to sell for 2 baht a liter. : น้ำมันเบนซินเคยขายลิตรละ 2 บาท หรือใช้เป็น
Gasoline used to sell for 2 baht per liter. โดยไม่มี article ก็ได้
ง.ใช้ในความหมายรวมทั่ว
ๆ ไป ในความหมายว่า ตัวหนึ่ง สิ่งหนึ่ง เป็นตัวแทนของทั้งหมด เช่น
A cat is not so vigilant as a dog. : แมวไม่ระวังเหมือนหมา
A cat is not so vigilant as a dog. : แมวไม่ระวังเหมือนหมา
จ.ใช้นำหน้านามที่ตามหลังกริยา
แต่นามนั้นไม่ใช้กรรมของกริยาดังกล่าว เช่น
He became a bachelor. : เขากลายเป็นคนโสด
He died a bachelor. : เขาตายทั้ง ๆ ที่เป็นโสด
He became a bachelor. : เขากลายเป็นคนโสด
He died a bachelor. : เขาตายทั้ง ๆ ที่เป็นโสด
ฉ.ใช้กับวลีบางวลีโดยเฉพาะ
เช่น
It is a pity you can not come with us. : เสียดายที่คุณไม่กับเราไม่ได้
I am in a hurry to get to my class. : ผมกำลังรีบไปให้ทันเข้าเรียน
It’s a shame that he said it. : มันน่าละอายที่เขาเป็นคนพูดเช่นนั้น
She takes an interest in his work. : เธอให้ความสนใจในงานของเขา
It is a pity you can not come with us. : เสียดายที่คุณไม่กับเราไม่ได้
I am in a hurry to get to my class. : ผมกำลังรีบไปให้ทันเข้าเรียน
It’s a shame that he said it. : มันน่าละอายที่เขาเป็นคนพูดเช่นนั้น
She takes an interest in his work. : เธอให้ความสนใจในงานของเขา
ช. ไม่ใช้ a นำหน้า part of ในความหมายว่า ส่วนหนึ่งของ แต่ใช้ a นำหน้า large
(small, minor,) part และใช้ the นำหน้า greater หรือ larger และ greatest หรือ largest เช่น
Part of the book is torn. : ส่วนหนึ่งของหนังสือถูกฉีกขาดไป
I Forgot a small part of my lecture. : ผมลืมคำบรรยายไปเสียส่วนหนึ่ง
Ubol’s father gave her the largest part of his wealth. : พ่อของอุบลให้ทรัพย์สมบัติส่วนที่มากที่สุดแก่เธอ
Part of the book is torn. : ส่วนหนึ่งของหนังสือถูกฉีกขาดไป
I Forgot a small part of my lecture. : ผมลืมคำบรรยายไปเสียส่วนหนึ่ง
Ubol’s father gave her the largest part of his wealth. : พ่อของอุบลให้ทรัพย์สมบัติส่วนที่มากที่สุดแก่เธอ
ซ.ใช้นำหน้า little และ few ให้ความหมายในทางลบ
ถ้าไม่มี a ให้ความหมายทางบวก เช่น
There are a few mistakes in his papers. : รายงานของเขามีผิดหลายแห่ง
There are few mistakes in his papers. : รายงานของเขามีผิดสองสามแห่ง
There are a few mistakes in his papers. : รายงานของเขามีผิดหลายแห่ง
There are few mistakes in his papers. : รายงานของเขามีผิดสองสามแห่ง